อบรมเชิงปฏิบัติการดัชนีประเมินสุขภาพประชากรแบบองค์รวม…

อบรมเชิงปฏิบัติการดัชนีประเมินสุขภาพประชากรแบบองค์รวม…

ประกาศรายชื่อ ผู้มีสิทธิ์เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ดัชนีประเมินสุขภาพประชากรแบบองค์รวม ปี ๒๕๖๔

อบรมเชิงปฏิบัติการดัชนีประเมินสุขภาพประชากรแบบองค์รวม “Summary Measures of Population Health (SMPH 2021)”ดังนี้   สามารถดูรายชื่อที่นี่…

คู่มืออบรมเชิงปฏิบัติการ SMPH 2021 smph2021ปกคู่มือ

การใช้เครื่องมือภาระโรคเพื่อประโยชน์ในการวางแผนและนโยบายสุขภาพ

เครื่องมือภาระโรคเป็นเครื่องชี้วัดภาวะสุขภาพประชากรแบบองค์รวม (summary measures of population health, SMPH) เป็นเครื่องชี้วัดผลลัพธ์ทางสุขภาพ ที่รวมทั้งการตาย (mortality) และภาวะสุขภาพที่บกพร่องหรือการเจ็บป่วย (non-fatal outcome) เข้าด้วยกัน  เพื่อใช้วัดและเปรียบเทียบภาวะสุขภาพในภาพรวมของประชากร  เครื่องมือดังกล่าวเป็นประโยชน์ในการวางแผนทางนโยบายในมิติต่างๆ เช่น การจัดลำดับความสำคัญของโรคในพื้นที่ การประเมินภาระโรคที่เปลี่ยนแปลงตามการเปลี่ยนแปลงทางของปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ/ภาวะเศรษฐกิจและสังคม และ การประเมินนโยบายและมาตรการทางสุขภาพ ตามป้าหมายในระดับโลก เช่น เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นต้น

การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ดัชนีประเมินสุขภาพประชากรแบบองค์รวม

Summary Measures of Population Health” (SMPH2021) 

 

ดาวน์โหลด  หนังสือเชิญเข้าร่วมอบรม กำหนดการ และโครงการ   หรือผ่านทาง QR Code qrcode (4)

 

สอบถามเพิ่มเติม 0817168129 หรือผ่าน chakvida@ihpp.thaigov.net , chakvida@gmail.com

 

ตารางการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ดัชนีประเมินสุขภาพประชากรแบบองค์รวม 

Summary Measures of Population Health” (SMPH 2021)

ระหว่างวันที่ 24 – 26 พฤษภาคม 2564  ณ โรงแรม มิราเคิล แกรนด์คอนเวนชั่นและผ่านระบบออนไลน์

วันที่ เวลา หัวข้อ (ดาวน์โหลดเอกสารการประชุม)  วิทยากร
24-พ.ค.-64 8.30 – 9.00 ลงทะเบียน
พิธีเปิดโดย ดร.ณัฐพันธุ์ ศุภกา

ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ และ รักษาการ ผอ.สำนักวิชาการและนวัตกรรม

9.00 – 9.30 บรรยายพิเศษ เรื่อง ภาระโรคกับการใช้ประโยชน์ในการวางแผนและนโยบายสุขภาพ ศ.นพ.สุวัฒน์  จริยาเลิศศักดิ์
9.30 – 10.15 การบรรยาย เรื่อง ดัชนีประเมินสุขภาพประชากรแบบองค์รวม ดร. ทพญ.กนิษฐา  บุญธรรมเจริญ
10.15-10.30 พักเบรค
10.30-12.00 การบรรยาย เรื่อง แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความยืนยาวของชีวิต อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (LE) และอายุคาดเฉลี่ยที่ปรับด้วยสุขภาพ (HALE) ศ. ดร. ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 15.30 การฝึกปฏิบัติประมาณค่าอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (LE) และอายุคาดเฉลี่ยที่ปรับด้วยสุขภาพ (HALE) นางสาวขนิษฐา  กู้ศรีสกุล
15.30-16.30 การอภิปรายและซักถามเกี่ยวกับการประมาณค่าอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (LE) และอายุคาดเฉลี่ยที่ปรับด้วยสุขภาพ (HALE) ศ. ดร. ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์
25-พ.ค.-64 8.30 – 9.00 ลงทะเบียน
9.00 -9.10 สรุปการเรียนรู้ วันที่ 1
9.10 -9.40 บรรยาย SDGs- Health related goals นพ.สุรัคเมธ  มหาศิริมงคล
9.40 – 10.40 บรรยาย ปีสุขภาวะที่สูญเสียไป (DALY) ดร. ภญ.ฐิติพร  สุแก้ว
10.40 – 10.55 พักเบรค
10.55 12.00 บรรยาย แหล่งช้อมูลสุขภาพ และการใช้ข้อมูล DATAVIZ นพ. พินิจ ฟ้าอำนวยผล
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.00 ตัวชี้วัด SDGs – U5MR ดร.ภญ.ฐิติพร  สุแก้ว /นายณัฐวุฒิ อดุลยานุโกศล
14.00-15.00 การบรรยายและสาธิต เรื่อง การใช้ P-BOD (คำนวณ YLL ) นพ.ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน
15.15-16.00 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการใช้ข้อมูล DATAVIZ ดร.ภญ.ฐิติพร  สุแก้ว
(U5MR, P-BOD ฯลฯ)
 16.00 – 16.30 การอภิปรายกลุ่มการใช้ข้อมูล
26-พ.ค.-64 8.30 – 9.00 ลงทะเบียน
9.00 -9.10 สรุปการเรียนรู้ วันที่ 2
9.10-11.00 การบรรยาย เรื่อง   premature mortality from NCDs นางสาวขนิษฐา  กู้ศรีสกุล
11.00-11.30 การบรรยายและสาธิต  เรื่อง การใช้ข้อมูล DATAVIZ การใข้ข้อมูล premature mortality from NCDs ระดับจังหวัด นางสาวขนิษฐา  กู้ศรีสกุล /
นายรักษพล  สนิทยา
11.30- 12.00 สะท้อนผลการเรียนรู้และสรุปการอบรมเชิงปฏิบัติการ ดร.ทพญ.ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์
12.00- 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน

 

 

ใบประกาศนียบัตร ผู้เข้าร่วมอบรมมากกว่า ร้อยละ 80 ของเวลาอบรม